สอบกลางภาค
วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559
การบันทึกครั้งที่ 7 วันอังคาร ที่ 20 กันยายน พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.
การประยุกต์ใช้
สามารถนำไปใช้ในอนาคตได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องทดลองต่างๆที่อาจาย์ให้ทดลองทำ
การประเมินผู้สอน
อาจารย์สอนสนุกเข้าใจ ได้สอนการทดลองต่างๆให้นักศึกษาได้เห็นอีกด้วย
การประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายและตั้งใจทำงานที่อาจารย์ได้มอบหมายในห้องเรียน
การประเมินเพื่อน
เพื่นอๆต่างตั้งใจฟังอาจารย์และให้ความร่วมมือในการทดลองได้ดีค่ะ
ความรู้ที่ได้รับ
ก่อนเข้าสู่บทเรียนอาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนคัดพยัญชนะไทยหัวกลมตัวเหลี่ยม
จากนั้นอาจารย์แจกกระดาษ A4 คนละ 1 แผ่น และสีเมจิกคนละ 3 ด้าน 3 สี แล้วให้นักศึกษาวาดรูปฝามือตัวเองแล้วตีเส้นตรงโดยใช้สีที่ตัดกัน
จากนั้นอาจารย์ให้ดูของเล่นวิทยาศาสตร์ในรูปแบบต่างๆ
จากนั้นอาจารย์ให้แต่ละคนออกไปนำเสนอของเล่นวิทยาศสาตร์ของแต่ละคน
จากนั้นอาจารย์มีการทดลองให้นักศึกษาดู
- การทดลองที่ 1 เป็นการทดลองที่ใช้กรวยน้ำมา
- การทดลองที่2 เป็นการทดลองน้ำพุ
- การทดลองที่3 เป็นการทดลองให้นักศึกษาตัดกระดาษให้เป็นดอกไม้ แล้วนำไปลอยในน้ำ
การประยุกต์ใช้
สามารถนำไปใช้ในอนาคตได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องทดลองต่างๆที่อาจาย์ให้ทดลองทำ
การประเมินผู้สอน
อาจารย์สอนสนุกเข้าใจ ได้สอนการทดลองต่างๆให้นักศึกษาได้เห็นอีกด้วย
การประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายและตั้งใจทำงานที่อาจารย์ได้มอบหมายในห้องเรียน
การประเมินเพื่อน
เพื่นอๆต่างตั้งใจฟังอาจารย์และให้ความร่วมมือในการทดลองได้ดีค่ะ
การบันทึกครั้งที่ 5 วันอังคาร ที่6 กันยายน พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.
การประยุกต์ใช้
การประเมินผู้สอน
อาจารย์เปิดวีดิโอให้ดูได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องอากาศมากขึ้น ทำใหเข้าใจอากาศมีหลายรูปแบบ
การประเมินตนเอง
ตั้งใจดูวีดูโอจนจบ มีง่วงบ้างเล็กน้อย แต่ก้ดูจนจบ
การประเมินเพื่อน
คามรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ให้มาห้องสมุด อาจารย์มีวิดีโอให้ดู เรื่อง อากาศมหัศจรรย์
อากาศ คือ อากาศอยู่รอบตัวเราเสมอ เราสามารถรู้ว่ามีอากาศอยู่รอบๆตัวเราได้โดยโบกมือไปมา กระแสลมที่เกิดขึ้นและปะทะกับฝ่ามือของเรา ก็แสดงว่าอากาศมีจริง หรือถ้าเรายืนอยู่ในที่ที่มีลมพัดผ่าน เราจะรู้สึกว่ามีอากาศหรือลมพัดมาถูกตัวเรา แรงลมสามารถทำให้เกิดคลื่นน้ำ หรือหมุนกังหันลมได้
จากนั้นอาจารย์ให้แต่ละคนออกไปนำเสนอของเล่นที่ส่งเสริมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
ของเล่นของ รถแข่งพลังลมปราณ
การประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้เรื่องอากาศไปสอนในอนาคตได้ และสามารถประดิษฐ์ของเล่นไปใช้ในการเรื่องการสอนได้
การประเมินผู้สอน
อาจารย์เปิดวีดิโอให้ดูได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องอากาศมากขึ้น ทำใหเข้าใจอากาศมีหลายรูปแบบ
การประเมินตนเอง
ตั้งใจดูวีดูโอจนจบ มีง่วงบ้างเล็กน้อย แต่ก้ดูจนจบ
การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจดูวีดิโอจนจบ
ของเล่นวิทยาศาสตร์จากเศษวัสดุเหลือใช้
1.ชื่อของเล่นของ รถแข่งพลังลมปราณ
2.อุปกรณ์
-กระดาษ A4 แบบบาง
3.ขั้นตอนการทำ
-เริ่มการสอนพับกระดาษเพื่อทำเกมรถแข่งพลังลมปราณกันเลยโดยขั้นตอนแรก
พับครึ่งกระดาษ A4
-พับมุมกระดาษทั้ง 2
ข้างเข้ามาตามรูป
-พับมุมแบบรูปด้านบนอีกด้านจะได้แนวเส้นที่ไขว้กัน
-พับครึ่งที่จุดตัดของเส้นที่ไขว้กัน
-เมื่อได้รอยเส้นเรียบร้อยแล้วให้พับเข้าหากัน
-สังเกตว่าเมื่อพับเข้าหากันตามรอยและจะได้ปลายแหลมทั้งสองด้าน
-พับกระดาษด้านบนของมุมแหลมทั้งสองข้างไปไว้อีกฝั่ง
แล้วพับกระดาษด้านข้างช่วงลำตัวเข้ามาตรงกลางทำแบบนี้ทั้งสองข้าง
-เมื่อพับกระดาษตามแล้วจะได้ออกมาลักษณะตามรูปดังนี้
-จากนั้นพับส่วนบนของด้านหนึ่งให้แหลมเหมือนจรวด
-นำปลายอีกด้านมาสอดเข้ากับส่วนปลายแหลมที่พับไว้
สังเกตให้ปลายทั้งสองข้างของด้านพับเมื่อครู่สอดเข้ากับช่องของด้านที่พับกลับมา
-หลังจากได้ตัวรถแข่งแล้วก็นำเจ้ารถกระดาษมาตกแต่งให้สวยงาม
4.วิธีการเล่น
-ให้เด็กๆเป่าแข่งกับเพื่อน
5.ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์
พลังงานลม เป็นพลังงานตามธรรมชาติที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดดันของบรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก
สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลมและกำลังลม
เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลมเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเอง การเป่าวัตถุจะเคลื่อนที่ไปไกลหรือใกล้ขึ้นอยู่กับลม
ได้เรื่องของทิศทางในการเป่าเมื่อเราเป่าไปทางซ้ายวัตถุจะเคลื่อนที่ไปซ้ายเมื่อเราเป่าไปทางขวาวัตถุจะเคลื่อนที่ไปทางขวา
ขึ้นอยู่กับการเป่าว่าจะเคลื่อนเร็วหรือช้า
การบันทึกครั้งที่4 วันอังคาร ที่30 สิงหาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน13.30-17.30น.
ความรู้ที่ได้รับ
-ก่อนเรียนอาจารย์ให้คัดพยัญชนะไทยหัวกลมตัวเหลี่ยม
-สัปดาห์นี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มละ 5 8น ให้ประดิษฐ์ผลงานวิทยาศสาตร์ที่เกี่ยวกับอากาศ โดยอาจารย์มีอุปกรณ์ให้ คือ คลิปหนีบกระดาษ 1 อัน และกระดาษ 1 แผ่น ให้ประดิษฐ์เกี่ยวกับอากาศ กลุ่มดิฉันได้ประดิษฐ์ กังหันลม
ความรู้ที่ได้รับ
-ก่อนเรียนอาจารย์ให้คัดพยัญชนะไทยหัวกลมตัวเหลี่ยม
-สัปดาห์นี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มละ 5 8น ให้ประดิษฐ์ผลงานวิทยาศสาตร์ที่เกี่ยวกับอากาศ โดยอาจารย์มีอุปกรณ์ให้ คือ คลิปหนีบกระดาษ 1 อัน และกระดาษ 1 แผ่น ให้ประดิษฐ์เกี่ยวกับอากาศ กลุ่มดิฉันได้ประดิษฐ์ กังหันลม
วิธีทำ
- พับและตัดกระดาาให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุจักร
- ตัดกระดาษทั้ง 4มุม โดยประมาณ3ส่วน4 โดยเว้นตรงกลางไว้
- จากนั้นก็พับกระดาษจากมุมที่เราตัดพับสลับกันให้ได้เป็นกังหันลม
- ก็จับมุมตรงกลางก็เจาะรูโดยใช้คลิปเอามาดึงให้ตรงและเจาะเข้าตรงก็เอาปลายกังหันเจาะไปที่ละอัน
- ใช้ยางลบยึดทั้งสองด้านหน้า หลังไม่ให้ปลายกระดาษหลุด
จากนั้นให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
กลุ่มที่1 การนำเสนอผ่านสื่อที่เป็นนิทานจากเรื่องเล่า เกี่ยวกับฝนจากอากาศ
กลุ่มที่ 2 ใช้พัดเป็นสื่อการสอนเรื่องอากาศ
กลุ่มที่3 กังหันลมโดยใช้อากาศให้เกิดลมปะทะกับกังหัน
กลุ่มที่4 กระดาษกับคลิปหนีบกระดาษอันไหนตกเร็วกว่าหรืออันไหนตกช้า เป็นการตั้งสมมุติฐาน
กลุ่มที่5 ใช้สื่อทำเป็นสภาพอากาศ มี4 ช่องคือ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ อากาศเคลื่อนที่เรียกว่าลม อากาศมีแรงดัน
กลุ่มที่6 ใช้สื่อเรือใบ เกี่ยวกับลมบกและลมทะเล
การประยุกต์ใช้
สามารถนำมารวมยอดเรื่องอากาศที่เพื่อนนำเสนอไปใช้ในอนาคตและสอนเด็กให้ลงมือทำ
ประเมินผู้สอน
อาจารย์ได้สอนเรื่องอากาศ อากาศมีหลายหลายรูปแบบ อาจารย์สอนได้ลึกซึ้งมากค่ะ
ประเมินตัวเอง
ตั้งใจทำงานกลุ่มเรื่องอากาศที่อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มคิดว่าาจะทำอะไร
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆต่างตั้งใจทำ ปรึกษากันว่าจะทำอะไรช่วยๆกันคิดค่ะ
การบันทึกครั้งที่3 วันอังคาร ที่23 สิงหาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ให้สรุปเนื้อหาในชีทที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยเป็นลักษณะตามวัย พัฒนาการทั้ง4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และสติปัญญา ตั้วแต่อายุ3-5 ปี และก็จะมีทฤษฎีเรียนรู้ การทดลอง การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ให้สรุปเนื้อหาในชีทที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยเป็นลักษณะตามวัย พัฒนาการทั้ง4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และสติปัญญา ตั้วแต่อายุ3-5 ปี และก็จะมีทฤษฎีเรียนรู้ การทดลอง การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
การประยุกต์ใช้
สามารถนำทฤษฎีไปใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้
การประเมินผู้สอน
อาจารย์มอบหมายงานให้ทำ
การประเมินตนเอง
ดิฉันตั้งใจทำงานที่อาจารย์ได้มอบหมายให้ทำ
การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆต่างตั้งใจทำงาน
การบันทึกครั้งที่ 2 วันเสาร์ ที่28 สิงหาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน13.30-17.30น.
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้ได้เดินทางไปศึกษาดูงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2559 หรือ National Science and Technology Fair Thailand ที่อิมแพค เมืองทองธานี ดิฉันได้ศึกษาดูงานด้านวิทยาศาสตร์คือ เกี่ยวกับไข่ โลก ดาราศาสตร์ ถั่ว ร่างกายของเรา และอีกมากมาย
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้ได้เดินทางไปศึกษาดูงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2559 หรือ National Science and Technology Fair Thailand ที่อิมแพค เมืองทองธานี ดิฉันได้ศึกษาดูงานด้านวิทยาศาสตร์คือ เกี่ยวกับไข่ โลก ดาราศาสตร์ ถั่ว ร่างกายของเรา และอีกมากมาย
ใบความรู้สำหรับเด็กๆที่มางานวิทยาศสาตร์ แต่เราก็หยิบมาอ่่าน
ก่อนกลับได้เดินดูวิทยาศสาตร์รอบๆงาน มีทั้งของเด็กและผู้ใหญ่จากต่งประเทศแลของวิทยาลัยต่างๆในเมืองไทย ก็จะมีเครื่องเครื่องจักร
การประยุกต์ใช้
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้และสามารถนำมาเป็นตัวอย่างใช้ในอนาคตสอนเด็กได้ด้วยค่ะ
การบันทึกครั้งที่1 ชดเชยครั้งที่1 ของวันที่9 สิงหาคม พ.ศ.2559
วันจันทร์ ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.
ความรู้ที่ได้รับ
การประยุกต์ใช้
วันจันทร์ ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.
ความรู้ที่ได้รับ
- วันนี้อาจารย์พูดคุยเกี่ยวกับการสร้างบล็อกภาษาอังกฤษและการจัดทำ Profile ต่างๆเป็นภาษาอังกฤษ สถิต ข้อมูลของเรา บทความวิทยาศาสตร์ สื่อวิทยาศาสตร์ งานวิจจัยวิทยาศาสตร์ ปฏิทิน ตัวนับ ต่างๆ
- แนวทางการเรียน จะเป็นการวัดความรู้จากกระดาษ A4 ที่ให้นักศึกษา ได้นำการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เด็กปฐมวัยมาวิเคราะห์ในแบบของตนเอง
เรื่อง โลก ดาราศาสตร์ สิ่งรอบตัว
1.เนื้อหา = ธรรมชาติ สิ่งต่างๆ บุคคลและสถานที ตัวเด็ก เรื่องใกล้ตัวเด็ก มีผลกระทบกับตัวเด็ก
2.วิธีการ = ตั้งสมมุติฐาน สังเกต ทดลอง สำรวจ วิเคราะห์ ขอบข่ายปัญหา สรุป
วิทยาศาสตร์ หมายถึง การสืบค้นหรือหาความจริงโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การทองลอง การใช้เหตุผล การสำรวจ การแก้ไขปัญหา การวิเคราะห์ การสรุป เป็นต้น เพื่อให้ได้ความรู้และข้อเท็จจริงในเรื่องวิทยาศาสตร์
สรุปวิทยาศาสตร์สำคัญอย่างไร
สำคัญต่อการสร้างเสริมประสบการณ์ให้กับเรา
ประโยชน์
เกิดความเชื่อมั่นในตนเองและค้นนคว้าค้นหาในนการดำรงในชีวิต
ชดเชยครั้งที่ 2 ของวันที่16 สิงหาคม พ.ศ.2559
วันจันทร์ ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน13.30-17.30น.
ความรู้ที่ได้รับ
เด็กปฐมวัย
-เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน
-พัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
-อายุ พัฒนาการ ความอยากรู้อยากเห็น เลียนแบบพฤติกรรมที่สะท้อนพัฒนาการ
-การเล่นเป็นวิธีการเรียนรู้ของเด็ก
สติปัญญา
-ความคิด
-ภาษา
การเล่น
-การเรียนรู้ของเด็กให้เด็กได้เล่น
การประยุกต์ใช้
สามารถไปนำไปสอนในอนาคตได้และสามารถประดิษฐ์ให้เด็กๆเล่นได้อีกด้วยค่ะ
ประเมินผู้สอน
ประเมินผู้สอน
อาจารย์สอนแบบถามตอบ ให้นักเรียนได้คิดตามไปด้วย ทำให้นักศึกษาตั้งใจเรียนมากขึ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)