วันอังคารที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่16  วันอังคาร ที่ 22 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559  เวลาเรียน 13.30-17.30น.

ความรู้ที่ได้รับ

  สัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของการเรียนการสอนและสัปดาห์นี้ก็จะเป็นการสอนกลุ่มหน่วยต่างๆตามวันที่ในแต่ละกลุ่มได้ไว้

วันจันทร์ หน่วยไก่
เป็นการสอนให้เด็กได้หยิบไก่ออกมาที่ละตัวและแยกจำนวนไก่และให้เด้กๆนับว่าไก่มีกี่ตัว




วันอังคาร หน่วยนม
เป็นการสอนให้เด็กได้ดูความเหมือนและความแตกต่างของนมช็อคโกแลตกับนมถั่วเหลืองว่า มีกลิ่น 
รสชาติว่าเป็นเช่นไร


วันพุธ หน่วยข้าวกับหน่วยส้ม
หน่วย ข้าว
เป็นการสอนที่ทำน้ำหมักเหมือนกันทำ cooking เพื่อใหเด็กได้แบ่งกลุ่มและลงมือทำ




หน่วย ส้ม
เป็นหน่วยการสอน การถนอมอาหารว่าส้มที่แช่อิ่มกับส้มสดอันไหยอร่อยกว่า และยังมีการสอนการทำขวดบ้าพลังอีกด้วย



วันพฤหัสบดี หน่วย กล้วย
เป้นการสอนเรื่องประโยชน์และโทษของกล้วย



วันศุกร์ หน่วย น้ำ
เป็นการสอนการรทำ cooking การทำน้ำอัญชัน จะแบ่งเป็นฐานๆและให้นักศึกษาออกไปทำกิจกรรมต่างๆในฐานต่างๆ




การประยุกต์ใช้
         แต่ละหน่วยได้มีวิธีการสอนที่แตกต่างกัน การสอนเชื่อมโยงและสอดคล้องกัน และยังได้ประสบการณ์ในการลงมือทำ หรือทดลอง


การประเมินอาจารย์
         อาจารย์ดูการสอนแต่ละหน่วยหรือแต่ละกลุ่ม และแต่ละกลุ่มควรปรับปรุงตรงไหน 

การประเมินตนเอง

         ตั้งใจฟังเพื่อนๆสอน และได้เป็นนเด็กนักเรียนอีกด้วย

การประเมินเพื่อน

         เพื่อนๆให้ความร่วมมือและตั้งใจฟังเพื่อนๆสอน










การบันทึกครั้งที่15  วันอังคาร ที15 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.


ความรู้ที่ได้รับ


    สัปดาห์นี้นักศึกษาได้จับกลุ่มกันเป็นหน่วยทีทำและเริ่มเขียนแผยการสอนตามวันที่ตนเองได้เลือกไว้

  1. วันจันทร์ :กษมา เลือก ลักษณะของนม
  2. วันอังคาร: ปรีชญา เลือก ความแตกต่างของนม  ช๊อคโกแลต กับนมถั่วเหลือง
  3. วันพุธ : วนิดา เลือก การถนอมของนม
  4. วันพฤหัสบดี: ศิริพร เลือก ประโยชน์ของนม
  5. วันศุกร์:มาณิศา เลือก ทำcooking จากนม คือนมปั่น





การประยุกต์ใช้
         เป็นการเรียนการสอนที่ใช้แผน และให้เขียนแผนแต่ละวันต้องเชื่อมโยงกันอีกด้วย 
         

การประเมินอาจารย์
          อาจารย์เน้นการสอนเกกี่ยวกับการเขียนแผนให้ถูกต้อง


การประเมินตนเอง
          ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายและเขียนแผนของตัวเองได้

การประเมินเพื่อน

           เพื่อนๆต่างตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายการเขียนแผน และตั้งใจเขียนแผนของตนเอง










การบันทึกครั้งที่14   วันอังคาร ที่ 8 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลาเรียน 113.30-17.30น.


สัปดาห์นี้นักศึกษากลุ่ม 102  บ่าย มีภาระกิจทำกิจกรรม ต้อนรับคณะมาเยี่ยมชมคณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันเกษม




การบันทึกครั้งที่13  วันอังคาร ที่1 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.

ความรู้ที่ได้รับ

       อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มเปิดวิดีโอของเล่นวิทยาศาสตร์ที่แต่ละกลุ่มประดิษฐ์  มีทั้งหมด 4กลุ่ม

กลุ่มที่ 1 เรื่องพลังปริศนา
https://www.youtube.com/watch?v=Go9zrFhikS8

กลุ่มที่ 2 เรื่องขวดปริศนา
https://www.youtube.com/watch?v=7jU51MATe8g

กลุ่มที่3 เรื่องรถแกนหลอดด้าย
https://www.youtube.com/watch?v=QwkwdmlMres

กลุ่มที่4 เรื่องลูกข่างนักสืบ (กลุ่มดิฉัน)
https://www.youtube.com/watch?v=8iXxHIRi72I&t=52s

ใช้ทำงานชิ้นนี้เพื่อเป็นสื่อใช้ในการเรียนการสอน

จากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษานั่งเปป็นกลุ่มแล้วก็สอนหน่วยต่างๆที่มีการเรียนรู้ คือ คณิต วิทยาศาสตร์ ภาษา ศิลปะ สังคม สุขศึกษา โดยอาจารย์ได้เขียนตัวอย่างและอธิบายให้ฟังแล้วให้แต่ละกลุ่มทำมายแมป โดยกลุ่มดิฉันเขียนเรื่อง นม





กลุ่มดิฉัน









การประยุกต์ใช้

       ให้เด้กๆได้บูรณาการในการเรียนรู้ในเรื่องต่างๆ และสอนผ่าน วีดิโอ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และการประยุกต์หน่วยที่เราเรียน


การประเมินอาจารย์
        อาจารย์ดูวีดีโอและบอกข้อปรับปรุงของแต่ละกลุ่มว่าควรแก้ตรงไหน ปรับตรงไหนบ้าง


การประเมินตนเอง
         ฟังอาจารย์อธิบายและบอกวิธีการปรับปรุงว่าควรปรับปรุงตรงไหนบ้าง


การประเมินเพื่อน
          เพื่อนๆต่างตั้งใจฟังอาจารย์บอกข้อปรับปรุงของแต่ละกลุ่ม








การบันทึกครั้งที่12 วันอังคาร ที่25 ตุลาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.

ความรู้ที่ได้รับ

       อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอมายแมป

กลุ่มที่1  ส้ม



กลุ่มที่2 ไก่


กลุ่มที่3 ข้าว


กลุ่มที่4 กล้วย


กลุ่มที่5 น้ำ



กลุ่มที่ 6 นม



จากนั้นเรียน 8สาระของวิทยาศาสตร์เพื่อดูว่าแต่ละกลุ่มแต่ละหน่วยนั้นสามารถนำสาระที่1-8 นำมาประยุกต์ใช้ได้ไหม



การประยุกต์ใช้
       การทำมายแมปนั้น จะต้องมีหัวข้อหลัก หัวข้อย่อย การกระจายและการเพิ่มเติม มีสีสรรค์  สามารถนำไปใช้กับเด็กๆ          



การประเมินอาจารย์
       อาจารย์ได้สอนการทำมายแมปว่าต้องทำอย่างไรถึงจะถูกและสอนสาระต่างๆของวิทยาศาสตร์



การประเมินตนเอง
       ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังอาจารยย์สอนมายแมป 


การประเมินเพื่อน
        เพื่อนๆต่างตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายในการทำมายแมปว่าทำอย่างไร











การบันทึกครั้งที่11  วันอังคาร ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.

ความรู้ที่ได้รับ
 
       อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ ที่ตัวเองประดิษฐ์




จากนั้นได้เรียนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ซึ่งสาระวิทยาศาสตร์  มี 8สาระ และยังมีทักษะของวิทยาศาสตร์
1.ตั้งคำถาม ตั้งประเด็นปัญหา
2.ตั้งสมมุติฐาน
3.ทดลองใช้ทักษะสังเกต เพื่อรวบรวมข้อมูล
4.วิเคราะห์สรุป อภิปราย

ต่อมาจับกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ให้แต่ละกลุ่มทำมายแมป ที่ให้ตัวเด็ก ดังนี้
1.ประเภท แบ่งเกณฑ์ ชนิด บอกชื่อ
2.ลักษณะ เช่น สี รูปร่าง ขนาด รูปทรง กลิ่น ส่วนประกอบ
3.การดูแลรักษา การถนอม การดำรงชีวิต
4.ประโยชน์ เช่น สร้างรายได้ สร้างอาชีพ
5.ข้อควรระวัง โทษ





มีทั้งหมด 8 กลุ่ม


  1. กล้วย
  2. น้ำ
  3. ส้ม
  4. ไก่
  5. ข้าว
  6. นม







การประยุกต์ใช้

      การบูรณาการทำให้สอดคล้องเชื่อมโยงกัน ดูจากสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก และมีผลดีกับดี



การประเมินอาจารย์

        อาจารย์สอนเกี่ยวกับสาระวิทยาศาสตร์ และทักษะของวิทยาศาสตร์ และอาจารย์ได้สรุปแต่ละกลุ่มให้ฟังว่าควรแก้ไขตรงไหน

การประเมินตนเอง
       ดิฉันได้ช่ยเพื่อนเขียนมายแมป และค่อยตกแต่งแต่และช่วยเพื่อนคิด


การประเมินเพื่อน
        เพื่อนๆต่างตั้งใจทำงาน ช่วยกันคิด ทำให้งานออกมาสำเร็จ









การบันทึกครั้งที่ 10 วันอังคาร ที่11 ตุลาคม พ.ศ.2559 เวลาเรียน 13.30-17.30น.

ความรู้ที่ได้รับ

     อาจารย์ให้นักศึกษาทำลำดับขั้นตอนของ STEM



จากนั้นให้แบ่งกลุ่มทำงาน ที่เน้นประสบการณ์ ของเล่นที่เด็กสามารถทำตามได้ และลงใน YouTube


กลุ่มดิฉันทำ ลุกข่างนักสืบ  ทำจากแผ่นซึดี สามารถใช้ได้ทั้งสองด้าน




กลุ่ที่2 ปืนลม




กลุ่มที่3  แผ่นซีดีเป่าให้ลอย




กลุ่มที่4 รถจากหลอดด้าย




การประยุกต์ใช้

        เกี่ยวกับลูกข่างนักสืบที่กลุ่มของดิฉันได้ทำ คือทำให้เด็กได้รู้ เรื่องแสง สี ให้เด็กได้ประสบการณ์เรียนรู้  ถ้าเราหมุนลูกข่างจะเกิดอะไรขึ้น



การประเมินอาจารย์

         อาจารย์ได้อธิบายผลงานชิ้นต่างๆของเพื่อนและได้บอกเคล็ดลับต่างๆ

การประเมินตนเอง

         ดิฉันตั้งใจเรียนและช่วยเพื่อนๆคิดกิจกรรม

การประเมินเพื่อน

       เพื่อนๆต่างตั้งใจทำงานของตนเอง และตั้งใจฟังอาจารย์











การบันทึกครั้งที่9  วันอังคาร ที่4 ตุลาคม พ.ศ.2559  เวลาเรียน 13.30-17.30น.

ความรู้ที่ได้รับ
             วันนี้พี่ๆปี5 สาขาการศึกษาปฐมวัย มาสอนการทำกิจกรรม cooking ทาโกะยากิไข่ข้าว
หน่วยอาหารดีมีคุณค่า



เพลงอาหารดี
อาหารดี นั้นมีประโยชน์
คือผักสด เนื้อหมู ปู ปลา
เป็ด ไก่ ไข่นม ผลไม้นานา
ล้วนมีคุณค่า ต่อร่างกายเรา

เพลงมือ
มือ มือ มือ มือ  มือของฉัน
วางมันไว้บนไหล่  มือน้อยน่ารัก
วางบนไหล่ฉันนี่  มือ มือ มือ มือ
มือของฉันวางมันไว้บนตัก
มือน้อยน่ารัก วางบนตักฉันเอง

ขั้นนำ
1.ครูร้องเพลงอาหารดีให้เด็กๆฟัง
2.ให้เด็กๆร้องเพลงตาม ที่ละวรรคทีละประโยค
3.ให้เด็กๆร้องเพลงตามครู
4.ใช้คำถามทบทวนเนื้อหา เช่น ในเพลงนี้อาหารที่มีประโยชน์มีอะไรบ้าง

ขั้นเสริมประสบการณ์
วัตถุดิบ
1.ไข่ไก่  30 ฟอง
2.ปูอัด  1 ถ้วยตวง
3.ข้าว 1 โถ
4.แครอท 1หัว
5.หอมใหญ่ 1 หัว
6.มะเขือเทศ 1ลูก
7.มาการีน 1 กระปุก
8.มายองเนส 1ขวด
9.เครื่องปรุง

อุปกรณ์
1.มีด 2 ด้าน
2.เขียง 1 อัน
3.จาน 5 ใบ
4.เตาทาโกะ 2 ตัว
5.ช้อน 5 อัน

ขั้นตอนการทำทาโกะยากิ
1.ใส่แครอท 2 ช้อน หอม 2 ช้อน มะเขือเทศ 2 ช้อน ปูอัด 1 ช้อน ข้าว 2 ช้อน
2.ใส่ไข่ 1 ฟอง ลงไปในถ้วยและก็ตี แล้วใส่่เครื่องปรุงโดยใส่น้ำปลา
3.เปิดเครื่องทำทาโกะยากิ แล้วใส่มาการีลงไป รอให้ละลาย
4.เมื่อมาการีเดือดแล้วก็หยอดส่วนผสมลงไปในกะทะให้เต็มหลุมพอสุกจะร้อนให้เอียงองศาเล็กน้อยทำให้ออกมาเป็นลูกกลมๆพอสุกแล้วคีบใส่จานราดด้วยมายองเนส


กิจกรรม cooking ทาโกะยากิ นั้นแบ่งออกเป็น 4 ฐาน คือ

ฐารที่1 วาดรูปวัตถุดิบอุปกรณ์



ฐานที่2 เตรียมวัตถุดิบอุปกรณ์









ฐานที่3 รวมส่วนผสม







ฐานที่4 ลงมือทำทาโกะยากิ







เมื่อทำกิจกรรม cooking เสร็จสิ้น พี่ๆก็ได้สรุปการทำกิจกรรมcooking  เด็กๆได้อะไรจากการทำกิจกรรมนี้ กิจกรรมนี้มีประโยชน์อะไรบ้าง




การประยุกต์ใช้

      การทำทาโกะยากิมีความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เช่น การตั้งสมมุติฐาน การเปลี่ยนแปลงของสี ความร้อน  ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม



การประเมินผู้สอน
        อาจารย์ได้เข้ามาดูและแนะนำในส่วนต่างๆของกิจกรรมบางส่วน


การประเมินตนเอง
  ได้ลงมือทำทาโกะยากิ มีความสนุกมาก ได้กินได้ร่วมมือกันทำด้วย


การประเมินเพื่อน
       เพื่อนๆได้มีส่วนร่วมในการทำทาโกะยากิ ร้องเพลง ทำกิจกรรม 4ฐาน









วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่8  วันอังคาร ที่27 กันยายน พ.ศ.2559  เวลาเรียน 13.30-17.30น.




สอบกลางภาค





การบันทึกครั้งที่ 7  วันอังคาร ที่ 20 กันยายน พ.ศ.2559  เวลาเรียน 13.30-17.30น.

ความรู้ที่ได้รับ

ก่อนเข้าสู่บทเรียนอาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนคัดพยัญชนะไทยหัวกลมตัวเหลี่ยม




จากนั้นอาจารย์แจกกระดาษ A4 คนละ 1 แผ่น และสีเมจิกคนละ 3 ด้าน 3 สี แล้วให้นักศึกษาวาดรูปฝามือตัวเองแล้วตีเส้นตรงโดยใช้สีที่ตัดกัน








จากนั้นอาจารย์ให้ดูของเล่นวิทยาศาสตร์ในรูปแบบต่างๆ






จากนั้นอาจารย์ให้แต่ละคนออกไปนำเสนอของเล่นวิทยาศสาตร์ของแต่ละคน




จากนั้นอาจารย์มีการทดลองให้นักศึกษาดู

  • การทดลองที่ 1 เป็นการทดลองที่ใช้กรวยน้ำมา



  • การทดลองที่2 เป็นการทดลองน้ำพุ

  • การทดลองที่3 เป็นการทดลองให้นักศึกษาตัดกระดาษให้เป็นดอกไม้ แล้วนำไปลอยในน้ำ






การประยุกต์ใช้
          สามารถนำไปใช้ในอนาคตได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องทดลองต่างๆที่อาจาย์ให้ทดลองทำ


การประเมินผู้สอน
         อาจารย์สอนสนุกเข้าใจ ได้สอนการทดลองต่างๆให้นักศึกษาได้เห็นอีกด้วย


การประเมินตนเอง

       ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายและตั้งใจทำงานที่อาจารย์ได้มอบหมายในห้องเรียน


การประเมินเพื่อน

       เพื่นอๆต่างตั้งใจฟังอาจารย์และให้ความร่วมมือในการทดลองได้ดีค่ะ